สารบัญ
ประกันรายได้ข้าว เรื่องใกล้ตัวที่ชาวนาต้องใส่ใจ
เกี่ยวกับโครงการประกันรายได้ข้าวหรือเงินช่วยเหลือประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว มีชาวนาหลายคนที่ยังไม่เข้าใจว่าประกันรายได้ข้าวคืออะไร รวมถึงไม่ทราบรายละเอียดต่าง ๆ อย่างเช่นในข่าวกรุงเทพธุรกิจที่ได้สำรวจพื้นที่แล้วพบว่าชาวนาส่วนใหญ่ เช่น ในจังหวัดบุรีรัมย์ไม่ได้รับส่วนต่างราคาข้าว เนื่องจากไม่มีเจ้าหน้าที่มาบอกขั้นตอนตรวจสอบและรับสิทธิ์ ยิ่งไปกว่านั้น ชาวนาบางคนยังคิดว่าหลังจากที่ลงทะเบียนเกษตรกรปลูกข้าวแล้วก็ไม่ต้องทำอะไรต่อ เพราะเดี๋ยวจะมีเจ้าหน้าที่มาคอยอัพเดทข่าวให้เอง แต่ความจริงคือไม่มีใครมากบอกเลย อีกทั้งเงินชดเชยราคาข้าวก็ถูกโอนไปแล้ว 3 งวด ทั้งนี้แล้ว ชาวนาทุกคนที่ขึ้นทะเบียนประกันรายได้ข้าวไม่ควรนิ่งนอนใจ และควรตรวจประกันรายได้ข้าวสำหรับปี 2024 อยู่บ่อยครั้ง หรือถ้าหากใครตรวจสอบเป็นก็สามารถไปที่สาขาธนาคาร ธกสใกล้บ้านท่านพร้อมกับแจ้งให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการเช็คประกันรายได้ข้าวล่าสุดโดยทันที
มีเพียงเลขบัตรประชาชนก็ตรวจสอบประกันรายได้ข้าวและโครงการเยียวยาเกษตรกรได้แล้ว
ประกันรายได้ข้าวคือเงินชดเชยราคาข้าวที่รัฐบาลมอบให้แก่เกษตรกรที่ปลูกข้าวในปี 2567-2567 สำหรับช่องทางตรวจสอบว่าเราได้ประกันรายได้ข้าวหรือไม่ หรือได้ราคาประกันรายได้ข้าวเป็นเงินเท่าไร เราสามารถตรวจสอบผ่านระบบออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ chongkho.inbaac.com ทุก 24 ชั่วโมง โดยใช้เลขบัตรประชาชน 13 หลักกรอกลงไปในระบบ จากนั้นระบบจะแสดงผลข้อมูลออกมาให้เราเห็นว่าได้รับการชดเชยราคาข้าวหรือไม่ ยิ่งไปกว่านั้น ไม่เพียงแต่โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเท่านั้นที่เราสามารถเช็คได้ แต่โครงการเยียวยาเกษตรกรอื่น ๆ เราก็สามารถเช็คได้เหมือนกัน หรืออีกช่องทางหนึ่งที่เราสามารถตรวจสอบสิทธิ์ได้คือแอพธนาคาร ธกส กล่าวได้ว่าช่องทางในการเช็คสิทธิ์ประกันรายได้ข้าวล่าสุดค่อนข้างสะดวกแก่ลูกค้ามาก ๆ เพราะลูกค้าไม่ต้องไปที่ธนาคารหรือหน่วยงานรัฐและไม่ต้องเตรียมเอกสารให้มากความ เพียงแค่มีเลขบัตรประชาชนและอินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าไปเว็บไซต์ chongkho.inbaac.com หรือแอพธนาคาร ธกส ก็สามารถรู้ผลได้เลยว่าเราได้รับประกันรายได้ข้าวหรือไม่
นอกจากรายได้จากประกันรายได้ข้าว เกษตรกรสามารถใช้สิทธิ์อะไรได้อีกบ้าง?
ช่วงปี 2024 มีเกษตรกรหลายท่านได้รับผลกระทบโดยตรงจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกและโควิด19 นอกจากนี้ เกษตรกรบางส่วนยังได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมเมื่อตอนปลายปี 2567 อีกด้วย ทำให้พืชผลและข้าวที่ปลูกได้รับความเสียหาย เช่นนี้เอง ธนาคาร ธกส จึงมีโครงการประกันรายได้ข้าวให้แก่เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน โดยท่านต้องคอยติดตามการอัพเดทข่าวรวมถึงทำความเข้าใจรายละเอียดเกี่ยวกับประกันรายได้ข้าวให้ดี เนื่องจากมีเกษตรกรจำนวนมากที่ไม่ได้ติดตามข่าวและไม่ได้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เป็นเหตุให้สุญเสียการชดเชยราคาข้าวไปฟรี ๆ อย่างไรก็ดี นอกจากโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวแล้ว ยังมีโครงการที่เกษตรกรสามารถใช้สิทธิ์เข้าร่วมได้ เช่น โครงการสินเชื่อสำหรับผู้ได้รับผลกระทบโควิด19 โครงการชำระดีมีคืน และโครงการนาทีทองลดดอกเบี้ยสู้โควิด ซึ่งแม้ว่าโครงการเหล่านี้จะต่างจากประกันรายได้ข้าว แต่ก็ถือว่ามีรายละเอียดที่น่าสนใจสำหรับท่านที่ต้องการเงินทุนในอัตราดอกเบี้ยต่ำ หากท่านใดสนใจสามารถติดตามเพิ่มเติมได้ที่ธนาคาร ธกส
ประกันรายได้ข้าว โครงการที่ช่วยเหลือชาวนาในสภาวะราคาข้าวตกต่ำ
“ข้าว” คือ พืชผลทางการเกษตรที่สำคัญของประเทศไทยที่ส่งออกต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปี 2567-2567 ถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาที่ราคาข้าวตกต่ำถึงขีดสุดก็ว่าได้ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังประสบปัญหาค่าเงินบาทอ่อนค่ายิ่งส่งผลให้กำลังซื้อในประเทศสามารถซื้อข้าวในราคาที่ถูกลงนั่นเอง ปฏิเสธไม่ได้ว่าผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือชาวนานั่นเอง ดังนั้น รัฐบาลร่วมกับธนาคาร ธกสจึงได้มีโครงการประกันรายได้ข้าวขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวได้รับความเป็นธรรมมากขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เกษตรกรต้องดูรายละเอียดด้วยว่าตนเองมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขของประกันรายได้ข้าวล่าสุดหรือไม่ อย่างแรกคือท่านต้องขึ้นทะเบียนประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวก่อน หลังจากนั้นต้องไปตรวจสอบว่าข้าวที่ตนเองปลูกนั้นเข้าหลักเกณฑ์ของโครงการประกันรายได้ข้าวหรือไม่ เช่น ข้าวเปลือกหอมมะลิ ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี ข้าวเปลือกเจ้า หรือข้าวเปลือกเหนียว เพราะถ้าหากไม่ใช้ข้าวตามที่กล่าวมา ท่านก็จะไม่ได้รับเงินชดเชย
เงื่อนไขการอนุมัติประกันรายได้ข้าว
การอนุมัติโครงการประกันรายได้ข้าวมีเงื่อนไขรายละเอียดอยู่ว่าเกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนปลูกข้าว ปี 2567/2567 รอบที่ 1 พร้อมทั้งกรอกรายละเอียดเก็บเกี่ยวข้าวก่อนวันที่ 3-9 ธันวาคม 2567 และข้าวที่ปลูกต้องมีระดับความชื้นไม่เกิน 15% ด้วย นอกจากนี้ หากได้ตรวจประกันรายได้ข้าวจากแหล่งข่าวทั่วไปหรือข่าวเกี่ยวกับธนาคาร ธกส จะพบว่าข้าวแต่ละสายพันธุ์มีราคาประกันแตกต่างกันออกไป โดยข้อมูลตรงนี้เกษตรกรต้องทำความเข้าใจเป็นอย่างดี เพราะเดี๋ยวบางคนไม่เข้าใจก็จะเข้าใจผิดว่าทำไมตนเองได้รับค่าประกันรายได้ข้าวไม่เท่กับคนอื่น
อนึ่ง ความเป็นมาเป็นไปของประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเกิดจากประเทศไทยประสบปัญหาราคาข้าวตกต่ำ ซึ่งส่งผลกระทบต่อหลายภาคส่วนด้วยกัน หนึ่งในนั้นคือเกษตรกรที่ปลูกข้าว ยิ่งไปกว่านั้น ในปี 2567 เกษตรกรชาวไทยยังประสบปัญหาอุทกภัยอีกด้วย ยิ่งทำให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวได้รับความเสียหายอย่างหนัก ดังนั้นแล้ว จึงได้มีการชดเชยราคาข้าวให้กับเกษตรกรกลุ่มนี้ อย่างไรก็ตาม ประกันรายได้ข้าวจะโอนให้กับผู้ขึ้นทะเบียนเป็นระยะเวลา 6 งวด ซึ่งเกษตรคนใดที่ยังไม่เคยตรวจสอบมาก่อน แนะนำให้ท่านตรวจประกันรายได้ข้าวผ่านแอพธนาคาร ธกส หรือผ่านเว็บ chongkho.inbaac.com โดยการกรอกเลขบัตรประชาชนก็จะทราบผลทันที