สารบัญ
ขั้นตอนเช็คเงินประกันรายได้ข้าว
เงินประกันรายได้ข้าวเป็นโครงการที่เกษตรกรควรติดตามอย่างยิ่งไม่ว่าจะเป็นเงินประกันรายได้ข้าวปี 64 หรือเงินประกันรายได้ข้าวปี 65 ถ้าถามว่าเงินโครงการดังกล่าวในปี 2567 มีใครได้บ้าง ก็ต้องบอกว่าคนที่ได้คือเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนพร้อมทั้งมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขที่กำหนด ในส่วนของขั้นตอนเช็คเงินประกันราคาข้าว ธกส หรือวิธีตรวจเงินประกันรายได้ข้าว ให้ท่านเข้าไปที่เว็บไซต์ https://chongkho.inbaac.com/ จากนั้นกรอกเลขบัตรประชาชน 13 หลัก และกดค้นหา แล้วระบบออนไลน์จะแสดงผลการค้นหาให้ดูว่าท่านได้รับเงินประกันรายได้ข้าวหรือไม่ หากท่านใดกดค้นหาแล้วไม่พบข้อมูลทั้ง ๆ ที่ลงทะเบียนมาแล้ว ให้ท่านติดต่อเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทำเรื่องของรับเงินประกัน 2024 เป็นลำดับต่อไป ทั้งนี้ บุคคลทั่วไปที่ไม่ได้เป็นเกษตรกรเมื่อท่านดูเงินประกันรายได้ข้าวหรือเช็คเงินประกันราคาข้าวล่าสุด ท่านจะไม่พบเจอข้อมูลใด ๆ เนื่องด้วยค่าประกันรายได้ข้าวมีไว้เฉพาะผู้ประกอบอาชีพเกษตรที่ขึ้นทะเบียนแล้วเท่านั้น
เงื่อนไขการชดเชยราคาส่วนต่างเงินประกันรายได้ข้าว
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรกำหนดเงื่อนไขราคาชดเชยเกี่ยวกับเงินประกันรายได้ข้าวให้แก่เกษตรกรที่ปลูกข้าวเอาไว้ว่าหากปลูกข้าวหอมมะลิ จะได้ตันละ 3871.59 บาท ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ได้ตันละ 3134.48 บาท ข้าวเปลือกปทุมธานี ได้ตันละ 1191.01 บาท ข้าวเปลือก ได้ตันละ 1954.56 บาท และข้าวเปลือกเหนียว ได้ตันละ 3615.98 บาท ดังนั้น การเช็คเงินประกันราคาข้าว ธกส จึงสำคัญอย่างยิ่ง เพราะบางท่านไม่เข้าใจเดี๋ยวจะโวยวายว่าเงินประกันรายได้ข้าวปี 65 ของตนเองไม่ตรงกับคนอื่น แต่หารู้ไม่ว่าค่าประกันรายได้ข้าวได้แบ่งไว้ตามแต่ละประเภทของข้าวดังที่กล่าวมาเมื่อสักครู่ สำหรับคนที่ได้รับเงินประกันรายได้ข้าว แต่ไม่รู้ว่าจะเอาไปต่อยอดอะไรดีให้เงินงอกเงย ท่านอาจจะนำไปซื้อสลากออมทรัพย์ ธ.ก.ส หรือหากท่านมีความรู้เกี่ยวกับพืชผล ก็สามารถนำเงินเยียวยาที่ได้ไปลงทุนซื้อต้นไม้หรือพืชผลทางการเกษตรมาต่อยอดได้ ซึ่งถือว่าเป็นความคิดที่ไม่เลวเหมือนกัน
เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเงินประกันรายได้ข้าว ควรตรวจสอบเงินด้วย
เงินประกันรายได้ข้าวปี 64 และเงินประกันรายได้ข้าวปี 65 เป็นเงินชดเชยที่เกษตรกรควรได้รับจากการปลูกข้าว หากเช็คเงินประกันราคาข้าวล่าสุดพบว่ารัฐบาลได้แบ่งค่าประกันรายได้ข้าวตามประเภทข้าว ซึ่งผู้ขึ้นทะเบียนจะได้รับเงินเยียวยาไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับชนิดของเมล็ดพันธุ์ข้าวนั่นเอง ทั้งนี้ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเงินประกันรายได้ข้าวควรตรวจเงินประกันรายได้ข้าวอย่างสม่ำเสมอในช่วงปี 2567-2567 เพราะบางท่านอาจเคยขึ้นทะเบียนมาก่อนแต่ลืมไปแล้วว่าตนเองควรได้รับเงิน แล้วก็ไม่ได้สนใจที่จะติดตาม ทำให้เสียสิทธิไปโดยเปล่าประโยชน์ ส่วนขั้นตอนในการตรวจสอบหรือเช็คเงินนั้น สามารถเข้าไปในเว็บไซต์ https://chongkho.inbaac.com/ หรือแอพธนาคาร ธ.ก.ส แล้วให้ท่านกรอกเลขบัตรประชาชน 13 หลัก หลังจากนั้นระบบจะโชว์ผลข้อมูลค่าประกันรายได้ข้าว จำนวนเงิน วันที่ได้รับเงินให้ท่านทราบ สำหรับท่านใดที่ตรวจสอบแล้วพบว่าตนเองไม่ได้รับเงิน ให้ท่านติดต่อธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรหรือหน่วยงานของรัฐที่มีความเกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการขอเงินประกันรายได้ข้าวปี 65
เงินประกันรายได้ข้าว ต่างจากเงินเพื่อเกษตรกรปลูกข้าวไร่ละ 1000 อย่างไร?
ต้องบอกว่าในช่วงปี 2567-2567 มีโครงการเยียวยาเกษตรกรหลายโครงการด้วยกัน เนื่องด้วยเกษตรกรเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากทั้งวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำ โควิด 19 รวมไปถึงเหตุการณ์น้ำท่วม ตัวอย่างโครงการที่คอยช่วยเหลือ เช่น เงินประกันรายได้ข้าว และ โครงการสนับสนุนค่าจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตของเกษตรกรที่ปลูกข้าว โดยโครงการเงินประกันรายได้ข้าวปี 65 จะเป็นเงินช่วยเหลือสำหรับผู้มีคุณสมบัติตามเงื่อนไขของรัฐ โดยจำนวนเงินจะได้มากน้อยขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ของเมล็ดข้าว เช่น ข้าวเปลือกหอมมะลิ ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี หรือข้าวเปลือกเหนียว เป็นต้น
สำหรับโครงการพัฒนาคุณภาพผลผลิตนั้น จะให้เงินแก่เกษตรกรที่ปลูกข้าวไร่ละ 1000 บาท จำกัดสูงสุดไม่เกินคนละ 20 ไร่ หรือคิดเป็นจำนวนเงิน 20000 บาท ซึ่งได้โอนเงินตั้งแต่วันที่ 14 – 17 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ทั้งเงินประกันรายได้ข้าวและเงินชดเชยไร่ละ 1000 บาท ต่างเป็นโครงการช่วยเหลือเกษตรกรทั้งคู่ หากใครที่มีคุณสมบัติเข้าร่วมโครงการทั้งสอง ก็แนะนำว่าควรเข้าร่วมทั้งสองโครงการเลย
โครงการชำระดีมีคืน และโครงการนาทีทองลดดอกเบี้ยสู้โควิด-19 น่าสนใจไม่น้อยไปกว่าโครงการเงินประกันรายได้ข้าว
สำหรับโครงการเงินประกันรายได้ข้าวเป็นโครงการเยียวยาเกษตรกรของรัฐที่ช่วยเหลือผู้ปลูกข้าวให้ได้รับเงินเยียวยาเท่าที่ควรจะได้รับ อีกทั้งยังเป็นเงินช่วยเหลือไร่ละ 1000 บาท จำกัดมากสุดไม่เกินคนละ 20 ไร่ ซึ่งเท่ากับว่าเกษตรกรจะได้รับเงินดังกล่าวสูงสุดไม่เกินคนละ 20000 บาท
อย่างไรก็ดี นอกจากโครงการเงินประกันรายได้ข้าวปี 64 แล้วยังพบว่ามีอีก 2 โครงการที่น่าจับตามองไม่น้อยไปกว่าการดูเงินประกันรายได้ข้าวเลยนั่นคือ โครงการชำระดีมีคืน และโครงการนาทีทองลดดอกเบี้ยสู้โควิด-19 โดยโครงการชำระดีมีคืนนั้นกำหนดเงื่อนไขว่าลูกค้าต้องมีหนี้คงเหลือในวันที่ 31 ตุลาคม 2567 ซึ่งธนาคารจะคืนดอกเบี้ยให้กับท่าน 20% ของดอกเบี้ยที่ท่านชำระ แต่ไม่เกิน 1000 บาท ทั้งนี้ ลูกค้าต้องมีคุณสมบัติเป็นลูกหนี้ชั้น 1 หรือชั้น 2 เท่านั้น ในส่วนของโครงการนาทีทองลดดอกเบี้ยสู้โควิด-19 มีเงื่อนไขเฉพาะกับลูกค้าที่มีคุณสมบัติยังมีหนี้คงค้างอยู่หรือลูกค้าที่อยู่ในกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยท่านจะได้รับการลดดอกเบี้ยไม่เกิน 50% สำหรับผู้ที่ชำระตามสัญญา ส่วนลูกค้าที่ชำระดอกเบี้ยได้นิดหน่อย ธนาคารจะลดดอกเบี้ยให้ 20% สำหรับนิติบุคคล ธนาคารจะลดดอกเบี้ยได้ไม่เกิน 10% ดังนั้น สำหรับปี 2024 โครงการทั้งสองจึงน่าสนใจอย่างมากสำหรับเกษตรกรไม่น้อยไปกว่าเงินประกันรายได้ข้าวเลย